[Font : 15 ]
| |
รสอร่อย - โทษ - อุบายเครื่องพ้นไปของธาตุ 4 |  

ภิกษุ ท.! ครั้งกอนแตการตรัส รูเมื่อเรายังไมไดตรัสรู ยังเปนโพธิสัตวอยู, ความสงสัยไดเกิดขึ้นแกเราวา "อะไรหนอ เปนรสอรอยของปฐวีธาตุ อาโปธาตุ เตโชธาตุ และวาโยธาตุ? อะไร เปนโทษของปฐวีธาตุอาโปธาตุ เตโชธาตุ และวาโยธาตุ ? อะไร เปนอุบายเครื่องออกไปพนไดจากปฐวีธาตุ อาโปธาตุ เตโชธาตุ และวาโยธาตุ ?"

ภิกษุ ท.! ความรูขอนี้ไดเกิดขึ้นแกเราวา "สุข โสมนัส ใด ๆ ที่อาศัย ปฐวีธาตุ อาโปธาตุ เตโชธาตุ และวาโยธาตุ แลวเกิดขึ้น, สุข และโสมนัส นี้แล เปน รสอรอย ของปฐวีธาตุ อาโปธาตุ เตโชธาตุ และวาโยธาตุ; ปฐวีธาตุ อาโปธาตุ เตโชธาตุ และวาโยธาตุ ไมเที่ยง เปนทุกขมี ความแปรปรวนเปนธรรมดา ดวยอาการใด, อาการนี้แล เปนโทษ ของปฐวีธาตุ อาโปธาตุ เตโชธาตุ และวาโยธาตุ; การนําออกเสียไดซึ่งความกําหนัดดวยอํานาจความพอใจ การละความกําหนัดดวยอํานาจความพอใจ ในปฐวีธาตุ อาโปธาตุเตโชธาตุ และวาโยธาตุ เสียได ดวยอุบายใด, อุบายนี้แล เปน อุบายเครื่องออกไปพนได จากปฐวีธาตุ อาโปธาตุ เตโชธาตุ และวาโยธาตุ." ดังนี้แล.

- นิทาน. สํ. 16/203/404.


เกี่ยวกับธรรมโฆษณ์ออนไลน์ (Disclaimer)
แม้ระบบ "ธรรมโฆษณ์ออนไลน์" พยายามปรับปรุงข้อมูลให้ถูกต้องมากที่สุด ผู้ศึกษาก็พึงตรวจสอบกับตัวเล่มหนังสือต้นฉบับ ที่มีการพิมพ์ครั้งล่าสุด ก่อนนำข้อมูลไปใช้ในการอ้างอิง"

  |     |   แจ้งข้อผิดพลาด / แนะนำ
หนังสือที่เกี่ยวข้อง