[Font : 15 ]
| |
เวทนา คือทางไปแห่งจิตของสัตว์ |  

ภิกษุ ท.! คําที่เรากลาววา "พึงรูจักทางไป (แหงจิต) ของสัตว 36 อยาง" ดังนี้นั้น, ขอนั้น เรากลาวอาศัยหลักเกณฑอะไรเลา ? ภิกษุ ท.! ขอนั้น เรากลาวอาศัยหลักเกณฑคือ ความโสมนัสเนื่องดวยเหยาเรือน 6 อยาง, ความโสมนัสเนื่องดวยการหลีกออกจากเหยาเรือน 6 อยาง, ความโทมนัสเนื่องดวยเหยาเรือน 6 อยาง, ความโทมนัสเนื่องดวยการหลีกออกจากเหยาเรือน 6 อยาง, อุเบกขาเนื่องดวยเหยาเรือน 6 อยาง, อุเบกขาเนื่องดวยการหลีกออกจากเหยาเรือน 6 อยาง.

ภิกษุ ท.! ในเวทนาทั้งหลายเหลานั้น, ความโสมนัสเนื่องดวยเหยาเรือน 6 อยาง เปนอยางไรเลา ? ภิกษุ ท.! เมื่อคนเรามองเห็นการไดซึ่ง รูป อันนาปรารถนา นารักใคร นาพอใจ นารื่นรมยใจ อันเนื่องในความเปนเหยื่อโลก ในทางตา วา เปนสิ่งที่ตนกําลังไดอยูก็ตาม, หรือวาเมื่อระลึกถึงรูป เชนนั้น อันตนเคยไดแลวแตกาลกอน ซึ่งลวงแลว ดับสิ้น แปรปรวนไปแลวก็ตาม แลวเกิดความโสมนัส ขึ้น . ความโสมนัสใด มีลักษณะเชน นี้ความโสมนัสนี้ เรียกวา ความโสมนัสเนื่องดวยเหยาเรือน (เคหสิตโสมนัส). (ในกรณีที่เกี่ยวกับ เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ และธรรมารมณ อีก 5 อยาง ก็ตรัสทํานองเดียวกับ ขอ วา รูป ผิด กันแตชื่อเทานั้น ). ภิกษุ ท .! เหลานี้คือ ความโสมนัสเนื่องดวยเหยาเรือน 6 อยาง.

ภิกษุ ท.! ในเวทนาทั้งหลายเหลานั้น, ความโสมนัสเนื่องดวยการหลีกออกจากเหยาเรือน 6 อยาง เปนอยางไรเลา ? ภิกษุ ท.! เมื่อคนเรารูแจงถึงความเปนของไมเที่ยงของรูปทั้งหลาย ความแปรปรวน ความจางคลายความกําหนัดยินดี และความดับไมเหลือของรูปทั้งหลาย เห็นอยูดวยปญญาอันชอบ ตรงตามที่เปนจริงอยางนี้ วา "รูปทั้งหลาย ในกาลกอนหรือในบัดนี้ก็ตามรูปทั้งหมดเหลานั้น เปนของไมเที่ยง เปนทุกข มีความแปรปรวนเปนธรรมดา" ดังนี้ แลวเกิดความโสมนัส ขึ้น. ความโสมนัสใด มีลักษณะเชนนี้ ความโสมนัสนี้ เรียกวา ความโสมนัสเนื่องดวยการหลีกออกจากเหยาเรือน (เนกขัมมสิตโสมนัส). (ในกรณีที่เกี่ยวกับ เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ และธรรมารมณ อีก 5 อยาง ก็ตรัสทํานองเดียวกับ ขอ วา รูป ผิดกันแตชื่อเทานั้น). ภิกษุ ท.! เหลานี้คือ ความโสมนัสเนื่องดวยการหลีกออกจากเหยาเรือน 6 อยาง.

ภิกษุ ท.! ในเวทนาทั้งหลายเหลานั้น, ความโทมนัสเนื่องดวยเหยาเรือน 6 อยาง เปนอยางไรเลา ? ภิกษุ ท.! เมื่อคนเรามองเห็นการไมได ซึ่งรูปอันนาปรารถนา นารักใคร นาพอใจ นารื่นรมยใจ อันเนื่องในความเปนเหยื่อโลกในทางตา วา เปนสิ่งที่ตนไมไดก็ตาม, หรือวา เมื่อระลึกถึงรูปเชนนั้น อันตนยังไม่เคยได้แตกาลกอน ซึ่งล่วงลับ ดับ สิ้น แปรปรวนไปแลวก็ตาม แลวเกิดความโทมนัสขึ้น. ความโทมนัสใดมีลักษณะเชนนี้ ความโทมนัสนี้ เรียกวา ความโทมนัสเนื่องดวยเหยาเรือน (เคหสิตโทมนัส). (ในกรณีที่เกี่ยวกับ เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ และธรรมารมณ อีก 5 อยาง ก็ตรัสทํานองเดียวกับ ขอวารูปผิดกัน แตชื่อเทานั้น). ภิกษุ ท .! เหลานี้คือ ความโทมนัสเนื่องดวยเหยาเรือน 6 อยาง.

ภิกษุ ท.! ในเวทนาทั้งหลายเหลานั้น, ความโทมนัสเนื่องดวยการหลีกออกจากเหยาเรือน 6 อยาง เปนอยางไรเลา? ภิกษุ ท.! เมื่อคนเรารูแจงถึงความเปนของไมเที่ยงของรูปทั้งหลาย ความแปรปรวน ความจางคลายความกําหนัดยินดี และความดับไมเหลือของรูปทั้งหลาย เห็นอยูดวยปญญาอันชอบตรงตาที่เปนจริงอยางนี้ วา "รูปทั้งหลาย ในกาลกอนหรือในบัดนี้ ก็ตามรูปทั้งหมดเหลานั้นเป็นของไมเที่ยง เปนทุกข มีความแปรปรวนเปนธรรมดา" ดังนี้แลว เขา ยอมเขาไปตั้งไว ซึ่งความกระหยิ่ม ในอนุตตรวิโมกขทั้งหลายวา "เมื่อไรหนอ ! เราจักเขาถึงอายตนะนั้น แลวแลอยู อันเปนอายตนะ ที่พระอริยเจาทั้งหลาย เขาถึงซึ่งอายตนะนั้นแลวแลอยู ในบัดนี้" ดังนี้. เมื่อเขาเขาไปตั้งไว ซึ่งความกระหยิ่ม ในอนุตตรวิโมขทั้งหลายอยู่ดังนี้ ยอมเกิดความโทมนัส ขึ้น เพราะความกระหยิ่มนั้นเปนปจจัย. ความโทมนัสใด มีลักษณะเชนนี้ ความโทมนัสนี้ เรียกวาความโทมนัสเนื่องดวยการหลีกออกจากเหยาเรือน (เนกขัมมสิตโทมนัส ) (ในกรณีที่เกี่ยวกับ เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะและธรรมารมณ อีก 5 อยาง ก็ตรัสทํานองเดียวกับขอวา รูป ผิดกันแตชื่อเทานั้น). ภิกษุ ท.! เหลานี้คือ ความโทมนัสเนื่องดวยการหลีกออกจากเหยาเรือน 6 อยาง.

ภิกษุ ท.! ในเวทนาทั้งหลายเหลานั้น, อุเบกขาเนื่องดวยเหยาเรือน (เคหสิตอุเบกขา) 6 อยาง เปนอยางไรเลา ? ภิกษุ ท.! เพราะเห็นรูปดวยตาแลวอุเบกขาก็เกิดขึ้นแกคนพาล ผูหลง ผูเขลา ผูบุถุชน ผูยังไมชนะกิเลส ผูยังไมชนะวิบาก ผูไมเห็นโทษ ผูไมไดยินไดฟง. อุเบกขาใด ซึ่งเปนอุเบกขาของบุถุชน อุเบกขานั้น ไมอาจจะเปนไปลวง ซึ่งวิสัยแหงรูป เพราะเหตุนั้นเราเรียกอุเบกขานั้น วา อุเบกขาเนื่องดวยเหย้าเรือน. (ในกรณีที่เกี่ยวกับ เสียงกลิ่น รส โผฏฐัพพะ และธรรมารมณ อีก 5 อยาง ก็ตรัสทํานองเดียวกับขอวา รูป ผิดกันแตชื่อเรียกเทานั้น). ภิกษุ ท.! เหลานี้คือ อุเบกขาเนื่องดวยเหย้าเรือน 6 อยาง.

ภิกษุ ท.! ในเวทนาทั้งหลายเหลานั้น, อุเบกขาเนื่องดวยการหลีกออกจาเหยาเรือน 6 อยาง เปนอยางไรเลา ? ภิกษุ ท.! เมื่อคนเรารูแจงถึงความเปนของไมเที่ยงขอรูปทั้งหลาย ความแปรปรวน ความจางคลายความกําหนดยินดี และความดับไมเหลือของรูปทั้งหลาย เห็นอยูดวยปญญาอันชอบตรงตามที่เปนจริงอยางนี้วา "รูปทั้งหลาย ในกาลกอน หรือในบัดนี้ ก็ตามรูปทั้งหมดเหลานั้น เปนของไม่เที่ยง เปนทุกข มีความแปรปรวนเปนธรรมดา" ดังนี้ แลวเกิดอุเบกขาขึ้น. อุเบกขาใด มีลักษณะเชนนี้ อุเบกขานั้น ไมอาจจะเปนไปลวง ซึ่งวิสัยแหงรูป เพราะเหตุนั้น เราเรียกอุเบกขานั้น วาอุเบกขาเนื่องด้วยการหลีกออกจากเหยาเรือน (เนกขัมมสิตอุเบกขา). (ในกรณีที่เกี่ยวกับ เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ และธรรมารมณ อีก 5 อยาง ก็ตรัสทํานองเดียวกับขอวารูปผิดกันแตชื่อเรียกเทานั้น). ภิกษุ ท.! เหลานี้คือ อุเบกขาเนื่องดวยการหลีกออกจากเหย้าเรือน 6 อยางแล.

ภิกษุ ท.! คําใดที่เรากลาววา "พึงรูจักทางไป (แหงจิต) ของสัตว 36 อยาง" ดังนี้นั้น, คํานั้น เรากลาวอาศัยความขอนี้แล.

- อุปริ. ม. 14/402-405/624-630.


เกี่ยวกับธรรมโฆษณ์ออนไลน์ (Disclaimer)
แม้ระบบ "ธรรมโฆษณ์ออนไลน์" พยายามปรับปรุงข้อมูลให้ถูกต้องมากที่สุด ผู้ศึกษาก็พึงตรวจสอบกับตัวเล่มหนังสือต้นฉบับ ที่มีการพิมพ์ครั้งล่าสุด ก่อนนำข้อมูลไปใช้ในการอ้างอิง"

  |     |   แจ้งข้อผิดพลาด / แนะนำ
หนังสือที่เกี่ยวข้อง